Page 66 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 66

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๕๔                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๕๕  55


    ๗.๓ วิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต   ๒๐๐ ๒๐๔    จิตวิทยาพัฒนาการและการเรียนรู้ของมนุษย์             ๒ (๒-๐-๔)
    นิสิตสาขาวิชาการสอนภาษาไทย ต้องเลือกศึกษารายวิชาเอก หรือวิชาการสอนวิชาเอก หรือวิชา        (Developmental Psychology and Human Learning)
 เลือกวิชาเอก หรือรายวิชาอื่นๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า ๖                       หลักพัฒนาการของมนุษย์ ทฤษฎีพัฒนาการ พัฒนาการทางกาย สังคม จิตใจ และการรู้คิด
 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา   จากวัยแรกเกิดจนถึงวัยรุ่น ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการและการเรียนรู้ ธรรมชาติของสมอง การเรียนรู้และ

                  กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนรู้ (Learning Styles) การใช้หลักการทางจิตวิทยาเพื่อ
 ๘. ค าอธิบายรายวิชา   ส่งเสริมการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาของเด็กที่เรียนหนังสือไม่ได้ บทบาทของครูและโรงเรียนต่อการพัฒนาสมอง
    หมวดวิชาศึกษาทั่วไป         ๓๐   หน่วยกิต    และการเรียนรู้
       วิชาบังคับ          ๑๘   หน่วยกิต    ๒๐๐ ๒๐๕    จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว                ๒ (๑-๒-๓)
       วิชาเลือก          ๑๒   หน่วยกิต          (Educational Psychology and Guidance)
    หมวดวิชาเฉพาะ               ๑๐๔   หน่วยกิต
       วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา     ๓๐   หน่วยกิต          แนวคิด หลักการ และทฤษฎีทางจิตวิทยาพื้นฐานและจิตวิทยาการศึกษา ความแตกต่าง
    ในหมวดรายวิชาดังกล่าว ใช้ค าอธิบายรายวิชาเหมือนกับหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิขา  ระหว่างบุคคล การคิด เชาวน์ปัญญา ความถนัด การสร้างแรงจูงใจ บุคลิกภาพและการปรับตัว การแนะแนวใน
 พระพุทธศาสนา     สถานศึกษา ฝึกการใช้กระบวนการทางจิตวิทยาและการแนะแนวเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็ม
                  ศักยภาพ การให้ค าปรึกษาเพื่อช่วยเหลือผู้เรียนให้รู้จักและเข้าใจตนเองและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

    วิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า    ๔๖    หน่วยกิต   ๒๐๐ ๒๐๖    นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา          ๓ (๒-๒-๕)

       วิชาบังคับ       ๓๐    หน่วยกิต         (Innovation and Information Technology in Education)
 ๒๐๐ ๑๐๑    ความเป็นครูวิชาชีพ                     ๓ (๓-๐-๖)         หลักการ แนวคิด นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ
       (Professional Teacher)   เพื่อการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ การออกแบบ การพัฒนา
       พัฒนาการของวิชาชีพครู สภาพงานครู คุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ ๒๑ มาตรฐาน  การประยุกต์ใช้ และการประเมินนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยี

 วิชาชีพครู การพัฒนาครูให้มีความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอนและกลยุทธ์การสอน ยึดหลักธรรมาภิบาลและ  การศึกษาวิถีพุทธ
 ความซื่อสัตย์สุจริต มีจิตวิญญาณความเป็นครู จิตส านึกสาธารณะ และเสียสละให้สังคม ปฏิบัติตนเป็น  ๒๐๐ ๒๐๗    การพัฒนาหลักสูตร                      ๓ (๒-๒-๕)
 แบบอย่างที่ดีตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู สามารถจัดการความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครู สร้างความก้าวหน้าและ        (Curriculum Development)
 พัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับผู้เรียน รู้จักแสวงหาและเลือกใช้ข้อมูลข่าวสาร        ความส าคัญของหลักสูตร หลักการ และแนวคิดในการจัดท าหลักสูตร แนวโน้มการพัฒนา

 ความรู้เพื่อพัฒนาวิชาชีพครู รวมทั้งมีความรู้ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับครูและวิชาชีพครู   หลักสูตรไทยและต่างประเทศ ประเภทของหลักสูตร ปัจจัยและพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาหลักสูตร การ
 ๒๐๐ ๑๐๒    ภาษาและวัฒนธรรม                     ๓ (๒-๒-๕)   น าหลักสูตรไปใช้ การออกแบบและการพัฒนาหลักสูตร ฝึกปฏิบัติการประเมินหลักสูตร การออกแบบหลักสูตร
       (Language and Culture)   เชิงสมรรถนะ (Competency-based curriculum) และการน าผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตร
       ความส าคัญของภาษาและวัฒนธรรม ภาษาไทยและภาษาบาลีเพื่อการเป็นครู   ๒๐๐ ๓๐๘    การออกแบบการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน            ๓ (๒-๒-๕)

 ภาษาต่างประเทศเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมที่ส่งผลกระทบต่อสังคมปัจจุบันและ        (Learning Design and Classroom Management)
 การด าเนินชีวิต การยอมรับและการอดทนต่อความแตกต่างและความหลากหลายของวัฒนธรรม การใช้ภาษา        หลักการ แนวคิดของนักการศึกษาและนักจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษ
 และวัฒนธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาไทยและ  ที่ ๒๑ ทฤษฎีและรูปแบบการจัดการเรียนรู้ เทคนิคการจัดการชั้นเรียน การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนและการ

 ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อความหมายอย่างถูกต้อง   จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวม การพัฒนาศูนย์การเรียนในสถานศึกษา
 ๒๐๐ ๒๐๓    ปรัชญาและจริยธรรมทางการศึกษา                ๓ (๓-๐-๖)   ฝึกออกแบบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้ลงมือท า (Active learning) คิดวิเคราะห์
       (Philosophy and Ethics in Education)   คิดสร้างสรรค์ และแก้ปัญหา รวมทั้งฝึกการจัดท าแผนการเรียนรู้เพื่อน าไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลจริง
       ปรัชญา แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ศาสนา เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
 และการประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสถานศึกษา พุทธปรัชญา หลักจริยธรรม และหลักการศึกษาในพระพุทธศาสนา

 คุณธรรมและจริยธรรมของวิชาชีพทางการศึกษา วิเคราะห์ทฤษฎีการศึกษาและทฤษฎีทางจริยธรรม
 ที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาในประเทศตะวันตกและประเทศไทย กลวิธีการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญา
 เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้างจริยธรรมและการพัฒนาที่ยั่งยืน
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71