Page 69 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 69
58 | คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
๕๘ คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
๒๐๓ ๒๐๔ ประชากรศึกษา ๓ (๓-๐-๖)
(Population Studies)
แนวคิด ทฤษฎี โครงสร้าง มาตรวัด องค์ประกอบทางประชากรศาสตร์ ผลกระทบของการ
เพิ่มและการลดปริมาณของประชากรโลก ภาวการณ์เจริญพันธุ์ การย้ายถิ่นฐานของประชากร ส ามโนประชากร
ของไทย นโยบายประชากรของไทย สถิติประชากร ศึกษาหลักสูตรและการสอนประชากรศึกษาในระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน การออกแบบกิจกรรม พัฒนาสื่อการจัดการเรียนการสอนประชากรศึกษาให้สัมพันธ์กับ
วิชาอื่น ๆ การส ารวจด้วยการลงพื้นที่ภาคสนามในพื้นที่โดยผู้เรียน
๒๐๓ ๓๐๕ ประวัติศาสตร์เอเชีย ๓ (๓-๐-๖)
(Asia History)
ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ ประวัติศาสตร์ตะวันออกกลาง ประวัติศาสตร์เอเชียใต้ ประวัติเอเชีย
กลาง ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เน้นศึกษาอารยธรรมและ
พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของแต่ละภูมิภาค
๒๐๓ ๓๐๖ ภูมิศาสตร์กายภาพ ๓ (๓-๐-๖)
(Physical Geography)
สัณฐานของโลกและปรากฏการณ์ที่เกิดเนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์และ
ดวงจันทร์ สมบัติทางด้านกายภาพ และการเปลี่ยนแปลงของธรณีภาค (Lithosphere) อุทกภาค
(Hydrosphere) บรรยากาศ (Atmosphere) และชีวมณฑล (Biosphere)
๒๐๓ ๓๐๗ รัฐศาสตร์เบื้องต้น ๓ (๓-๐-๖)
(Introduction to politics)
ความหมาย ขอบข่ายและปรัชญาของรัฐศาสตร์ ทฤษฎี แนวคิดและอุดมการณ์ทางการเมือง
ทฤษฎีความขัดแย้ง ระบบและลัทธิทางการเมือง อ านาจทางการเมือง รูปแบบ การปกครอง อุดมการณ์ทาง
การเมืองของไทย พรรคการเมืองไทย สิทธิเสรีภาพและการมีส่วนร่วมของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
การเมืองระดับท้องถิ่น
๒๐๓ ๓๐๘ ประวัติศาสตร์โลก ๓ (๓-๐-๖)
(The World History)
วิวัฒนาการ เหตุการณ์ และปัญหาของโลกยุคโบราณ ยุคกลาง ยุคยุโรปครองความเป็นใหญ่
ยุคปัจจุบัน เน้นวิวัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
๒๐๓ ๓๐๙ เทคโนโลยีแผนที่ และการแปลความหมายแผนที่ ๓ (๒-๒-๕)
(Mapping Technology and Reading the map)
พื้นฐานความรู้ทางการอ่าน การแปลความหมายและเขียนแผนที่ การเก็บข้อมูลและการแสดง
ข้อมูลทั้งทางกายภาพและสิ่งแวดล้อมในแผนที่ ตลอดจนเทคนิคการใช้เครื่องมือและนวัตกรรมในการสร้างแผน
ที่การใช้ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศและระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ การเลือกใช้แผนที่ที่
เหมาะสม ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ การฝึกปฏิบัติภาคสนาม
๒๐๓ ๓๑๐ ภูมิศาสตร์ประเทศไทยเชิงวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
(Analytical Geography of Thailand)
ศึกษาวิเคราะห์สภาพภูมิศาสตร์ของประเทศไทยทั้งทางด้านที่ตั้ง อาณาเขต ลักษณะทางด้าน
กายภาพ ลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ ประชากร การวิเคราะห์ความสามารถในการผลิตเชิงการเกษตร