Page 70 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 70

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๕๘                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๕๙  59


 ๒๐๓ ๒๐๔    ประชากรศึกษา                       ๓ (๓-๐-๖)   อุตสาหกรรมการค้า การคมนาคมขนส่ง และการศึกษาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับปัจจุบัน
       (Population Studies)   เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ตามสภาพจริง

       แนวคิด ทฤษฎี โครงสร้าง มาตรวัด องค์ประกอบทางประชากรศาสตร์ ผลกระทบของการ  ๒๐๓ ๓๑๑    พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่             ๓ (๓-๐-๖)
 เพิ่มและการลดปริมาณของประชากรโลก ภาวการณ์เจริญพันธุ์ การย้ายถิ่นฐานของประชากร ส ามโนประชากร        (Development of Modern Society and Culture)
 ของไทย นโยบายประชากรของไทย สถิติประชากร ศึกษาหลักสูตรและการสอนประชากรศึกษาในระดับ        พัฒนาการของสังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ด้านปรากฏการณ์
 การศึกษาขั้นพื้นฐาน การออกแบบกิจกรรม พัฒนาสื่อการจัดการเรียนการสอนประชากรศึกษาให้สัมพันธ์กับ  องค์ประกอบ และพัฒนาการ การก่อตัวของสังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่ ปัญหา สิ่งท้าทายและวิกฤติของ
 วิชาอื่น ๆ การส ารวจด้วยการลงพื้นที่ภาคสนามในพื้นที่โดยผู้เรียน   สังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของพัฒนาการของสังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่กับก าเนิด

 ๒๐๓ ๓๐๕    ประวัติศาสตร์เอเชีย                     ๓ (๓-๐-๖)   ความรู้และภูมิปัญญาสมัยใหม่  ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่
       (Asia History)   การผสมผสานและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่
       ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ ประวัติศาสตร์ตะวันออกกลาง ประวัติศาสตร์เอเชียใต้ ประวัติเอเชีย  ๒๐๓ ๓๑๒    ประวัติศาสตร์ไทยเชิงวิเคราะห์                  ๓ (๓-๐-๖)

 กลาง ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เน้นศึกษาอารยธรรมและ        (Analytical History of Thailand)
 พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของแต่ละภูมิภาค         วิวัฒนาการชาติไทยด้านการเมืองและการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และ
 ๒๐๓ ๓๐๖    ภูมิศาสตร์กายภาพ                      ๓ (๓-๐-๖)   ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์
       (Physical Geography)   และสถานการณ์ชาติไทยในปัจจุบัน ในเชิงวิเคราะห์ โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์

       สัณฐานของโลกและปรากฏการณ์ที่เกิดเนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์และ  ๒๐๓ ๔๒๒    จริยศาสตร์และจริยธรรมสิ่งแวดล้อม                ๓ (๓-๐-๖)
 ดวงจันทร์ สมบัติทางด้านกายภาพ และการเปลี่ยนแปลงของธรณีภาค (Lithosphere) อุทกภาค         (environmental ethics)
 (Hydrosphere) บรรยากาศ (Atmosphere) และชีวมณฑล (Biosphere)         ปัญหาและการแก้ปัญหาที่สัมพันธ์กับจริยธรรมสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์และการให้คุณค่า
 ๒๐๓ ๓๐๗    รัฐศาสตร์เบื้องต้น                      ๓ (๓-๐-๖)   สิ่งแวดล้อม  โดยใช้ขนบธรรมเนียมประเพณีและทฤษฎีจริยธรรมสิ่งแวดล้อม แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนที่มี

       (Introduction to politics)   ส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น  เพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและความขัดแย้งทางสังคม อันเนื่องมาจากการใช้
       ความหมาย ขอบข่ายและปรัชญาของรัฐศาสตร์ ทฤษฎี แนวคิดและอุดมการณ์ทางการเมือง   ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
 ทฤษฎีความขัดแย้ง ระบบและลัทธิทางการเมือง อ านาจทางการเมือง รูปแบบ การปกครอง อุดมการณ์ทาง  ๒๐๓ ๔๒๓    การเรียนรู้หน้าที่พลเมือง                   ๓ (๓-๐-๖)
 การเมืองของไทย พรรคการเมืองไทย สิทธิเสรีภาพและการมีส่วนร่วมของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย         (Civic Study)

 การเมืองระดับท้องถิ่น          สิทธิมนุษยชน บทบาท หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ของพลเมือง คุณลักษณะพลเมืองดี
 ๒๐๓ ๓๐๘    ประวัติศาสตร์โลก                      ๓ (๓-๐-๖)   ของประเทศชาติและสังคมโลก การเป็นพลเมืองดีตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
       (The World History)   ลักษณะที่ดีของคนไทยการประยุกต์ใช้หลักธรรมทางศาสนา การอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีความหลากหลาย

       วิวัฒนาการ เหตุการณ์ และปัญหาของโลกยุคโบราณ ยุคกลาง ยุคยุโรปครองความเป็นใหญ่   กฎหมายทั่วไป
 ยุคปัจจุบัน เน้นวิวัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม   ๒๐๓ ๔๒๔    ภูมิศาสตร์โลก                        ๓ (๓-๐-๖)
 ๒๐๓ ๓๐๙    เทคโนโลยีแผนที่ และการแปลความหมายแผนที่            ๓ (๒-๒-๕)         (The World Geography)
       (Mapping Technology and Reading the map)         ศึกษาลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ประชากร ทรัพยากรธรรมชาติ ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มี
       พื้นฐานความรู้ทางการอ่าน การแปลความหมายและเขียนแผนที่ การเก็บข้อมูลและการแสดง  ผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเซียเนีย ทวีปยุโรป ทวีป

 ข้อมูลทั้งทางกายภาพและสิ่งแวดล้อมในแผนที่ ตลอดจนเทคนิคการใช้เครื่องมือและนวัตกรรมในการสร้างแผน  อเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา และทวีปแอนตาร์กติกา
 ที่การใช้ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศและระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ การเลือกใช้แผนที่ที่  ๒๐๓ ๔๒๕    การวิจัยทางสังคมศึกษา                           ๓ ( ๒-๒-๕)
 เหมาะสม ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ การฝึกปฏิบัติภาคสนาม         (Social Studies Research)

 ๒๐๓ ๓๑๐    ภูมิศาสตร์ประเทศไทยเชิงวิเคราะห์                ๓ (๓-๐-๖)         ศึกษาแนวทาง รูปแบบ วิธีการและกระบวนการ การวิจัยทางการเรียนการสอนสังคมศึกษา
       (Analytical Geography of Thailand)   ฝึกการออกแบบงานวิจัยที่เหมาะสมในการศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนสังคมศึกษา และการ
       ศึกษาวิเคราะห์สภาพภูมิศาสตร์ของประเทศไทยทั้งทางด้านที่ตั้ง อาณาเขต ลักษณะทางด้าน  บูรณาการหลักพุทธธรรมกับทฤษฎีอื่น
 กายภาพ ลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ ประชากร การวิเคราะห์ความสามารถในการผลิตเชิงการเกษตร
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75