Page 68 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 68

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๕๖                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๕๗  57


 ๒๐๐ ๓๐๙    การวัดและประเมินการเรียนรู้                  ๓ (๒-๒-๕)   ๒๐๐ ๕๑๔    ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ๑                    ๖ (๐-๑๘-๐)
       (Learning Assessment)         (Teaching Internship 1)

       หลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการวัดและ        บูรณาการความรู้ในวิชาชีพครูและวิชาเฉพาะสู่การปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเอก โดยใช้กล
 ประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินตามสภาพจริง การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม การสอบภาคปฏิบัติ  ยุทธ์การสอนเพื่อให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ได้ สามารถวัดและประเมินผลและ
 และการสร้างเกณฑ์การประเมิน การประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน การน าผลการวัดและประเมินไปใช้ในการ  น าผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ศึกษาและท าวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ปฏิบัติงานอื่นที่
 พัฒนาผู้เรียน ฝึกปฏิบัติการสร้างและการใช้เครื่องมือวัด การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การให้คะแนนและ  ได้รับมอบหมายจากสถานศึกษา สัมมนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนเมื่อสิ้นสุดภาค
 การตัดสินผลการเรียน   การศึกษา

 ๒๐๐ ๓๑๐    การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้                  ๓ (๒-๒-๕)   ๒๐๐ ๕๑๕    ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ๒                     ๖ (๐-๑๘-๐)
       (Research for Learning Development)         (Teaching Internship 2)
       แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย รูปแบบการวิจัย กระบวนการวิจัย เครื่องมือที่ใช้        บูรณาการความรู้ในวิชาชีพครูและวิชาเฉพาะสู่การปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเอกโดยใช้กล

 ในการวิจัย การออกแบบการวิจัย จรรยาบรรณนักวิจัย การน าผลวิจัยไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน                    ยุทธ์การสอนเพื่อให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ได้ สามารถวัดและประเมินผลและ
 ฝึกปฏิบัติการท าวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหาการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งน าเสนอผลการวิจัย   น าผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน สามารถประเมิน ปรับปรุง และท าวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ปฏิบัติงาน
 ๒๐๐ ๓๑๑    การประกันคุณภาพการศึกษา                  ๒ (๑-๒-๓)   อื่นที่ได้รับมอบหมายจากสถานศึกษา สัมมนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติการสอน เมื่อสิ้นสุดภาค
       (Quality Assurance in Education)   การศึกษา

       หลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพ          วิชาเอก ๖๘ หน่วยกิต
 การศึกษา ฝึกปฏิบัติการจัดการคุณภาพ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ รวมทั้งการ
 จัดกิจกรรมประเมินคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้         ๑) วิชาบังคับ ๔๘ หน่วยกิต
                  ๒๐๓ ๒๐๑       สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเบื้องต้น                                ๓ (๓-๐-๖)

       วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ๑๖ หน่วยกิต         (Introduction to Sociology and Anthropology)
                                ความรู้เบื้องต้นทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา แนวคิดและทฤษฎีของนักสังคมวิทยาและ

 ๒๐๐ ๔๑๒    ฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๑               ๒ (๐-๔-๒)     มานุษยวิทยา โครงสร้างและลักษณะของสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา การจัดระเบียบทางสังคม กลุ่มทาง
       (Professional Experiences 1)   สังคมและวัฒนธรรม กระบวนการทางสังคม การจัดล าดับชั้นทางสังคม สถาบันและบทบาททางสังคม การ
       ศึกษาและสังเกตเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทั่วไปของโรงเรียน การบริหารจัดการในโรงเรียน   เปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ พฤติกรรมการอยู่ร่วมกัน ปัญหาสังคมและแนวทางแก้ไข
 สภาพงานครู การจัดการเรียนรู้ในสภาพห้องเรียน ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดท าแผนการเรียนรู้ เพื่อจุดประสงค์  ๒๐๓ ๒๐๒    เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น                     ๓ (๓-๐-๖)
 การสอนที่หลากหลาย การออกแบบทดสอบ ข้อสอบหรือเครื่องมือวัดผล การตรวจข้อสอบ การให้คะแนนและ        (Introduction to Economics)

 การตัดสินผลการเรียน การสอบภาคปฏิบัติและการให้คะแนน ศึกษาผลงานวิจัยเพื่อน าไปใช้แก้ปัญหาและ        แนวคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์พื้นฐาน เศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค การบริโภค การผลิต
 พัฒนาผู้เรียน รวบรวมข้อมูลและรายงานผลการศึกษาสังเกต  เมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ   การตลาด การออมและการลงทุนของภาครัฐและเอกชน นโยบายการเงินและการคลัง วิเคราะห์กลไกทาง
 ๒๐๐ ๔๑๓    ฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๒               ๒ (๐-๔-๒)   เศรษฐกิจในระบบปิดและระบบเปิด การพัฒนาเศรษฐกิจ วิเคราะห์สภาพทางเศรษฐกิจ การค้าระหว่างประเทศ
       (Professional Experiences 2)   ข้อตกลงเสรีทางการค้า (FTA) ทุนข้ามชาติ การค้าต่างตอบแทน ตลาดทุน วิสาหกิจชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง

       พัฒนาความเป็นครูมืออาชีพโดยฝึกเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้   เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ ให้ผู้เรียนลงพื้นที่เพื่อศึกษาเพิ่มเติมด้านเศรษฐกิจและการประยุกต์ใช้ โดยเน้น
 ออกแบบทดสอบ วัดและประเมินผลผู้เรียน และฝึกปฏิบัติการสอนแบบจุลภาคในสถานการณ์จ าลองตามแผน   กระบวนการคิดวิเคราะห์สามารถน าไปปรับใช้ในวิชาชีพ
 สังเกตการสอนของเพื่อน ทดลองปฏิบัติการสอนจริงในสถานศึกษา รวมทั้งแก้ปัญหาพฤติกรรมของนักเรียนโดย  ๒๐๓ ๒๐๓    ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น                     ๓ (๓-๐-๖)

 ใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน บันทึกข้อมูลและน าเสนอผลการศึกษา เมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ         (Local History)
                                ความหมาย ความส าคัญ คุณค่าทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ หลักฐานทาง
                  ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ขนบธรรมประเพณี ความเชื่อของท้องถิ่น ความเชื่อและอิทธิพลของอารยธรรมต่างๆ ที่มี
                  ต่อท้องถิ่น โดยการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับท้องถิ่นของสถาบันการศึกษา
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73