Page 59 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 59

50  | คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น

                  ๕๐                                               คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น


                  น้อย ๑ ประเด็น  แล้วจัดท าโครงร่างรายงานด าเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผล
                  การศึกษา

                         ๘๐๒  ๓๑๖       ปรัชญายุคหลังสมัยใหม่                                     ๓ (๓-๐-๙)
                                        Post Modern Philosophy
                         ศึกษาก าเนิดและพัฒนาการของแนวคิดปรัชญาหลังสมัยใหม่  เช่น แนวคิดธรรมชาติของมนุษย์
                  แนวคิดเรื่องกฎหมาย แนวคิดเรื่องภาษา แนวคิดเรื่องความจริง แนวคิดเรื่องเสรีภาพ แนวคิดเรื่องเพศ เรื่อง
                  ประวัติศาสตร์  เป็นต้น โดยเน้นศึกษาแนวคิดของนักปรัชญาคนส าคัญ เช่น วิตเกนสไตน์ (Witgenstein)

                  ฟูโกลท์ (Michel Foucault) แมคอินไตน์ (Mcintyre) เดอร์ริดา (Jacques Derrida) ฮาเบอร์มัส (Jurgen
                  Habermus) เลียวทาร์ด (Jean-Francois Lyotard) เจมสัน (Fredric Jameson) แนนซี่ (Fean-Luc Nancy)
                  วัตติโม (Gianni Vattimo) เป็นต้น

                         ๘๐๒  ๒๑๔       ปรัชญาภาษา                                               (๓) (๓-๐-๙)
                                        Philosophy of Language
                         ศึกษาวิเคราะห์มโนทัศน์ของปรัชญาภาษา ทฤษฎีความหมาย ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับ
                  ความจริง  ธรรมชาติของภาษาของนักปรัชญาตะวันตก เช่น วิตเกนสไตน์ เบอร์ทัน รัสเซลล์ ฟรีเก้ เป็นต้น

                  และนักปรัชญาตะวันออก เช่น  ธรรมกีรติ ปรัชญานยายะ เป็นต้น

                         ๔) หมวดวิชาพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต (ส าหรับผู้ไม่จบสาขาวิชาปรัชญาโดยตรง)
                         ๘๐๒ ๓๒๑        การใช้เหตุผลทางปรัชญา ๒                                   ๓ (๓-๐-๙)

                                        Philosophical Reasoning 2
                         ศึกษาหลักการและวิธีการใช้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive) และอุปนัย (Inductive) แบบ
                  เปรียบเทียบ วิธีการให้เหตุผลแบบมิลล์ เหตุผลวิบัติ (Fallacy) การให้เหตุผลในปรัชญาเชน ทฤษฎีจตุโกฏิของ
                  นาคารชุน  โดยศึกษากรณีตัวอย่างงานอภิปรัชญา ญาณวิทยา จริยศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ ของนักปรัชญา

                  ตะวันตกและตะวันออก แล้วพัฒนาศักยภาพในการคิดเชิงวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ และสังเคราะห์ประเด็น
                  ปัญหาตามกรอบการให้เหตุผลนั้นๆ
                         ๖๐๓ ๑๐๖        อภิปรัชญาวิเคราะห์                                         (๓) (๓-๐-๙)

                                        Analytic Metaphysics
                         ศึกษาแนวคิดทางอภิปรัชญาหรือทฤษฎีความเป็นจริงในปรัชญาตะวันตกและตะวันออก เช่น แนวคิด
                  ของเพลโต้ อริสโตเติล วัตถุนิยม (Materialism) จิตนิยม (Idealism) ปฏิบัตินิยม (Pragmatism)
                  สัจนิยม (Realism) ปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะ (Logical Positivism) อภิปรัชญาเชน  โยคาจาร อภิปรัชญาใน
                  พุทธปรัชญา ปัญหาเรื่องเสรีภาพกับความรับผิดชอบทางศีลธรรม : ทัศนะของนิยัตินิยม (Determinism)

                  อนิยัตินิยม (Indeterminism) และทัศนะประนีประนอม (Compatibility) ปัญหาเรื่องเวลาว่าเวลามีจริง
                  หรือไม่ (Is time real?) ความเป็นจริง (Reality) ในพุทธปรัชญาส านักมัธยมิก (Madhyamika) ความเป็นจริง
                  (Reality) ในพุทธปรัชญาส านักโยคาจาร
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64