Page 62 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 62
คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น | 53
๕๒ คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ๕๓
หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต
พระพรหมบัณฑิต, ศ.ดร. อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ สาขาวิชา พุทธบริหารการศึกษา แบบ ๑.๑ แบบ ๒.๑
ราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๖๑ ได้แสดงทรรศนะไว้ในการแสดงปาฐกถา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐
ธรรมเฉลิมพระเกียรติเรื่อง “พระพุทธศาสนาและวิทยายาศาสตร์ : สร้างสรรค์
วัฒนธรรมแห่งปัญญา” ที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อ พ.ศ. ๑. ชื่อหลักสูตร
๒๕๕๒ ไว้ดังต่อไปนี้ ชื่อหลักสูตรภาษาไทย : ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา
ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ : Doctor of Education Program in Buddhist Educational
“พระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์ต่างเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญของ Administration
วัฒนธรรม ชาวพุทธเปรียบเทียบคนที่มีความรู้ทั้งสองด้านเหมือนคนที่มีดวงตา ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
สองข้าง (ทวิจักขุ) ดวงตาข้างหนึ่งคือความรู้ด้านศาสนา ส่วนดวงตาอีกข้างหนึ่ง ชื่อเต็มภาษาไทย : ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พุทธบริหารการศึกษา)
คือความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และความรู้ที่จ าเป็นต่อการประกอบอาชีพ คนที่มี ชื่อย่อภาษาไทย : ค.ด. (พุทธบริหารการศึกษา)
: Doctor of Education (Buddhist Educational Administration)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ
ความรู้ทั้งสองด้านเช่นนี้จัดเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : Ed.D. (Buddhist Educational Administration)
“การที่คนคนเดียวจะมีความรู้ทั้งด้านพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์
เช่นนี้เป็นเรื่องที่เป็นไปได้ไม่ยาก ทั้งนี้เพราะปัญญาในพระพุทธศาสนาและ ๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
ปัญญาในวิทยาศาสตร์ไม่ได้ขัดแย้งกันหากแต่ส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกัน บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “นาห ภิกฺขเว โลเกน วิวทามิ” เป็นต้น แปลความ
ว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตย่อมไม่ขัดแย้งกับชาวโลก แต่ชาวโลกย่อม ๔. ปรัชญา ความส าคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
ขัดแย้งกับเรา ธรรมวาทีย่อมไม่ขัดแย้งกับใครๆ ในโลก” หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา ภาควิชาบริหารการศึกษา
ธรรมวาทีคือคนที่ศึกษาธรรมและประกาศธรรม ค าว่าธรรมหมายถึงความ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนที่เน้นการขยายการศึกษา เพื่อผลิต
จริงตามธรรมชาติที่มีอยู่เองโดยไม่มีการแต่งเติมเสริมต่อ ค าว่าปัญญาใน ดุษฎีบัณฑิตที่เป็นบรรพชิตและคฤหัสถ์ ในสาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา ให้มีความรู้และความเชี่ยวชาญ
ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ มีความรับผิดชอบและมีคุณธรรม ท างานและสื่อสารร่วมกับบุคคลอื่นได้เป็น
พระพุทธศาสนาหมายถึงการรู้เห็นความจริงในธรรมชาติตามที่เป็นจริง อย่างดี สามารถเรียนรู้และน าแนวคิดทางด้านการบริหารการศึกษาสมัยใหม่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
(ยถาภูตญาณทัสสนะ) สัจธรรมความจริงในธรรมชาติที่มีการค้นพบไม่ว่าจะโดย อันสอดคล้องกับการที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ได้ทรง
สถาปนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยขึ้น เพื่อเป็นที่ศึกษาพระไตรปิฎก และวิชาชั้นสูงส าหรับ
นักศาสนาหรือนักวิทยาศาสตร์ก็ย่อมเป็นสัจธรรมอยู่วันยังค่ า เหมือนกับทอง พระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ทั่วไป
ย่อมเป็นทองตลอดเวลา วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
๑. เพื่อผลิตครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต ให้มีความรู้ความเข้าใจวิชาการทางพระพุทธศาสนา ประยุกต์เข้า
แม้พระพุทธศาสนาได้ค้นพบสัจธรรมความจริงในธรรมชาติแล้ว กับวิชาการแห่งการบริหารการศึกษา พร้อมกับบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ได้อย่างกลมกลืน
พระพุทธศาสนาก็ไม่มีการผูกขาดสัจธรรมความจริงนั้นว่ามีเฉพาะใน ๒. เพื่อผลิตครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต ให้น าความรู้ในวิชาการทางพระพุทธศาสนา ไปประยุกต์ใช้ในการ
พระพุทธศาสนา ชาวพุทธสามารถยอมรับความจริงในธรรมชาติที่ บริหารการศึกษาและเน้นถึงความรู้คู่คุณธรรมตามหลักพระพุทธศาสนา มีความลึกซึ้งด้านจิตภาวนา สุข สงบ
นักวิทยาศาสตร์ต่างทยอยกันค้นพบภายหลังการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า” เยือกเย็น แจ่มใส ใฝ่รู้ สร้างสรรค์ และมีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีความเพียบพร้อม เป็นต้นแบบหรือตัวอย่างที่ดี
ให้แก่สังคม