Page 60 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 60

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   51

 ๕๐       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๕๑


 น้อย ๑ ประเด็น  แล้วจัดท าโครงร่างรายงานด าเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผล  ๖๐๓  ๓๐๗   ญาณวิทยาวิเคราะห์                        (๓) (๓-๐-๙)
 การศึกษา                               Analytic Epistemology

 ๘๐๒  ๓๑๖   ปรัชญายุคหลังสมัยใหม่                 ๓ (๓-๐-๙)      ศึกษาแนวคิดเรื่องความรู้หรือทฤษฎีความรู้ของปรัชญาตะวันตกและตะวันออกส านักต่างๆ ใน
          Post Modern Philosophy    ประเด็นเรื่องธรรมชาติของความรู้ ที่มาของความรู้ มาตรฐานในการตัดสินความรู้ ลักษณะของความเชื่อและ
    ศึกษาก าเนิดและพัฒนาการของแนวคิดปรัชญาหลังสมัยใหม่  เช่น แนวคิดธรรมชาติของมนุษย์   ความมั่นใจ โดยเปรียบเทียบกับญาณวิทยาในพุทธปรัชญา
 แนวคิดเรื่องกฎหมาย แนวคิดเรื่องภาษา แนวคิดเรื่องความจริง แนวคิดเรื่องเสรีภาพ แนวคิดเรื่องเพศ เรื่อง
 ประวัติศาสตร์  เป็นต้น โดยเน้นศึกษาแนวคิดของนักปรัชญาคนส าคัญ เช่น วิตเกนสไตน์ (Witgenstein)                    ๖๐๓  ๒๐๘   จริยศาสตร์วิเคราะห์                        (๓) (๓-๐-๙)

 ฟูโกลท์ (Michel Foucault) แมคอินไตน์ (Mcintyre) เดอร์ริดา (Jacques Derrida) ฮาเบอร์มัส (Jurgen         Analytic Ethics
 Habermus) เลียวทาร์ด (Jean-Francois Lyotard) เจมสัน (Fredric Jameson) แนนซี่ (Fean-Luc Nancy)      ศึกษาทฤษฎีจริยศาสตร์ในปรัชญาตะวันตก เช่น ประโยชน์นิยม (Utilitarianism) กรณียธรรม
 วัตติโม (Gianni Vattimo) เป็นต้น    (Deontology) อัตตนิยม (Egoism) เน้นศึกษาแนวคิดเรื่องความดีสูงสุดของชีวิต เกณฑ์ตัดสินความดี (Good)

    ๘๐๒  ๒๑๔   ปรัชญาภาษา                        (๓) (๓-๐-๙)  ความชั่ว (Bad) ความถูก (Right) ความผิด (Wrong)  นอกจากนี้ ยังศึกษาอภิจริยศาสตร์ (MetaMetrics) และ
          Philosophy of Language   ศึกษาทฤษฎีจริยศาสตร์ในปรัชญาตะวันออก เช่น พุทธจริยศาสตร์ จริยศาสตร์ของเชน เป็นต้น พร้อมกับ
    ศึกษาวิเคราะห์มโนทัศน์ของปรัชญาภาษา ทฤษฎีความหมาย ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับ                 วิเคราะห์ประเด็นปัญหาทางจริยศาสตร์ร่วมสมัย เช่น ปัญหาการท าแท้ง การฆ่าตัวตาย การุณยฆาต การตัดสิน
 ความจริง  ธรรมชาติของภาษาของนักปรัชญาตะวันตก เช่น วิตเกนสไตน์ เบอร์ทัน รัสเซลล์ ฟรีเก้ เป็นต้น   ประหารชีวิต การท าส าเนาพันธุกรรม (Cloning) และการวิจัยเซลล์ต้นแบบ (Stem Cell Research)

 และนักปรัชญาตะวันออก เช่น  ธรรมกีรติ ปรัชญานยายะ เป็นต้น    โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบกับแนวคิดทางจริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
                         ๘๐๒ ๒๑๙        สัมมนาปรัชญาจีน                                           (๓) (๓-๐-๙)
    ๔) หมวดวิชาพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต (ส าหรับผู้ไม่จบสาขาวิชาปรัชญาโดยตรง)           Seminar on Chinese Philosophy
    ๘๐๒ ๓๒๑    การใช้เหตุผลทางปรัชญา ๒                          ๓ (๓-๐-๙)      สัมมนาเกี่ยวกับแนวคิดมนุษยนิยม  ธรรมชาติของมนุษย์ ทางสายกลาง ธรรมชาติและความจริงของ

            Philosophical Reasoning 2    เต๋า แนวคิดเรื่องหยิน-หยาง ความรักสากล สวรรค์ สวัสดิการสังคม ส านักกฎหมายนิยม (Legalism) แนวคิด
    ศึกษาหลักการและวิธีการใช้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive) และอุปนัย (Inductive) แบบ  เรื่องการศึกษา แนวคิดว่าด้วยความดี ความชั่ว โดยเน้นศึกษานักปรัชญาที่มีอิทธิพลต่อแนวคิดและการพัฒนา
 เปรียบเทียบ วิธีการให้เหตุผลแบบมิลล์ เหตุผลวิบัติ (Fallacy) การให้เหตุผลในปรัชญาเชน ทฤษฎีจตุโกฏิของ  ทางสังคม เช่น ขงจื่อ  เม้งจื่อ เหล่าจื่อ หานเฟยจื่อ ซุนจื่อ เป็นต้น ในการศึกษาวิชานี้ นิสิตต้องก าหนดประเด็น
 นาคารชุน  โดยศึกษากรณีตัวอย่างงานอภิปรัชญา ญาณวิทยา จริยศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ ของนักปรัชญา  ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาอย่างน้อย ๑ ประเด็น แล้วจัดท าโครงร่างรายงาน ด าเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล

 ตะวันตกและตะวันออก แล้วพัฒนาศักยภาพในการคิดเชิงวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ และสังเคราะห์ประเด็น  วิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผลการศึกษา โดยความเห็นชอบของอาจารย์ประจ าวิชา
 ปัญหาตามกรอบการให้เหตุผลนั้นๆ    ๘๐๒ ๓๒๐    สัมมนาปรัชญาอินเดีย                                   (๓) (๓-๐-๙)
 ๖๐๓ ๑๐๖    อภิปรัชญาวิเคราะห์                        (๓) (๓-๐-๙)         Seminar on Indian Philosophy

       Analytic Metaphysics      สัมมนาเกี่ยวกับแนวความคิดทางปรัชญาอินเดีย เช่น แนวคิดเรื่องโมกษะ กรรม การเกิดใหม่
    ศึกษาแนวคิดทางอภิปรัชญาหรือทฤษฎีความเป็นจริงในปรัชญาตะวันตกและตะวันออก เช่น แนวคิด  เป้าหมายสูงสุด พระพรหม ความหลุดพ้น จากส านักจารวาก เชน นยายะ ไวเษศิกะ สังขยา โยคะ มีมางสา
 ของเพลโต้ อริสโตเติล วัตถุนิยม (Materialism) จิตนิยม (Idealism) ปฏิบัตินิยม (Pragmatism)    เวทานตะ  อไวทะเวทานตะ พุทธะ เป็นต้น  ในการศึกษาวิชานี้ นิสิตต้องก าหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ
 สัจนิยม (Realism) ปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะ (Logical Positivism) อภิปรัชญาเชน  โยคาจาร อภิปรัชญาใน  รายวิชาอย่างน้อย ๑ ประเด็น แล้วจัดท าโครงร่างรายงาน ด าเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล
 พุทธปรัชญา ปัญหาเรื่องเสรีภาพกับความรับผิดชอบทางศีลธรรม : ทัศนะของนิยัตินิยม (Determinism)   และเสนอผลการศึกษา โดยความเห็นชอบของอาจารย์ประจ าวิชา

 อนิยัตินิยม (Indeterminism) และทัศนะประนีประนอม (Compatibility) ปัญหาเรื่องเวลาว่าเวลามีจริง  ๕) วิทยานิพนธ์
 หรือไม่ (Is time real?) ความเป็นจริง (Reality) ในพุทธปรัชญาส านักมัธยมิก (Madhyamika) ความเป็นจริง      ๘๐๐  ๒๐๐   วิทยานิพนธ์                           ๓๖   หน่วยกิต
 (Reality) ในพุทธปรัชญาส านักโยคาจาร             Dissertation
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65