Page 78 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 78

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   69

 ๖๘       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๖๙


    ๘๐๖ ๓๐๔  การเปลี่ยนแปลงองค์กรทางการศึกษา    ๓ (๓-๐-๖)   หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต
         Educational Organization Change

    แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการ  สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๒
 เปลี่ยนแปลง ปัจจัยต่อต้านการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงองค์กรทางการศึกษา ศึกษาเปรียบเทียบองค์กร  -------------------------------

 ทางการศึกษาของไทยกับนานาชาติ สัมมนาการเปลี่ยนแปลงองค์การทางการศึกษา   ๑.  ชื่อหลักสูตร
    Concept  and  theory  of change,  forms  of change,  factors  resulting to  change,   ชื่อหลักสูตรภาษาไทย    :  ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา
 factors  contrary  to change,  educational organization  change, comparison  of  educational   ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ  :  Doctor of Education in Teaching Social Studies

 organizations in Thailand and other countries, a seminar in educational organization change

    ๘๐๖ ๓๐๕  มนุษยสัมพันธ์กับพฤติกรรมองค์กรทางการศึกษา    ๓ (๓-๐-๖)   ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
          Human Relations and Organizational Behavior in Education   ชื่อเต็มภาษาไทย       : ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การสอนสังคมศึกษา)
    หลักการ แนวคิด ทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์และพฤติกรรมองค์กรกับบริบททางการศึกษา   ชื่อย่อภาษาไทย     : ค.ด. (การสอนสังคมศึกษา)
 กระบวนการแกปัญหาความขัดแย้ง การเปลี่ยนแปลงองค์กร การแก้ปัญหาความซ้ าซ้อนภายในองค์กรทาง  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ   : Doctor of Education (Teaching Social Studies)

 การศึกษา กระบวนการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในองค์กรทางการศึกษา การบูรณาการหลักการ   ชื่อย่อภาษาอังกฤษ    : Ed.D. (Teaching Social Studies)
 แนวคิด ทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์และพฤติกรรมองค์กรกับบริบททางการศึกษากับหลักพุทธธรรม
    Principles, concept and theory of human relations and organizational behavior in   ๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

 educational context, conflict resolution process, organization change, solving work repetition
 in educational organization, inter-personal  relation  building in educational  organization,      หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
 integration  of Buddha  -  dhamma in  human  relations and organizational behavior  in      บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
 principles,  concept and theory  of  human relations  and organizational  behavior in

 educational context   ๔. ปรัชญา ความส าคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
                               ปรัชญาของหลักสูตร
    ๔) ดุษฎีนิพนธ์
    ๔.๑) ดุษฎีนิพนธ์ แบบ ๑.๑ Dissertation (Plan 1.1)   มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีองค์ความรู้ในเชิงลึกและกว้างด้านสังคมศึกษาเพื่อบูรณาการความรู้
    ๘๐๐  ๔๐๑   ดุษฎีนิพนธ์                     ๖๐ หน่วยกิต   เนื้อหาวิชา หลักสูตร ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้สามารถน าไปประยุกต์ใช้ใน

         Dissertation   การสอนสังคมศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพโดยให้มีคุณภาพ คุณธรรมและจริยธรรมบนพื้นฐานแห่งหลักธรรมใน
    การวิจัยเพื่อสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ หรือ นวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา หรือการบริหาร  พระพุทธศาสนาสามเณรและคฤหัสถ์ทั่วไป

 การศึกษาเชิงพุทธเป็นการบูรณาการกับการบริหาร เพื่อการพัฒนาประเทศเป็นรายบุคคล โดยใช้ระเบียบวิธี            วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
 วิจัยที่ดีและเหมาะสม ภายใต้การแนะน าของคณะที่ปรึกษา
       Individual research for  a  new  body  of  knowledge  or  innovation in  educational   เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการผลิตครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตตามปรัชญาที่ตั้งไว้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
 administration  or Buddhist based educational  administration  using reasonable and  appropriate   ๑. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตวิชาชีพที่มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตร ออกแบบ และจัดระบบ
 research methodology under the supervision of advisors   การเรียนการสอนสังคมศึกษา

    ๔.๒) ดุษฎีนิพนธ์ แบบ ๒.๑     ๒. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตให้เป็นผู้ใฝ่รู้ ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้
    ๘๐๖  ๔๐๒    ดุษฎีนิพนธ์                     ๓๖ หน่วยกิต   อย่างมีประสิทธิภาพ
            Dissertation      ๓. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีเหตุผล รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม
      การวิจัยเพื่อสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ หรือ นวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา หรือการบริหาร  สามารถบูรณาการพระพุทธศาสนากับการสอนสังคมศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 การศึกษาเชิงพุทธเป็นการบูรณาการกับการบริหาร เพื่อการพัฒนาประเทศเป็นรายบุคคล โดยใช้ระเบียบวิธี  ๔. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตวิชาชีพให้มีความสามารถในการสอนสังคมศึกษา
 วิจัยที่ดีและเหมาะสมภายใต้การแนะน าของคณะที่ปรึกษา
          Individual  research  for  a new body  of knowledge or  innovation  in educational
 administration  or Buddhist based  educational  administration  using reasonale  and appropriate
 research methodology under the supervision of advisors
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83